ดอกเบี้ยเงินเบิกเกินบัญชีที่บริษัทนำมาให้ชาวประมงกู้ยืมโดยไม่คิดดอกเบี้ย บริษัทเปิดเครดิตธนาคารเบิกเกินบัญชีให้ชาวประมงกู้ยืมโดยไม่คิดดอกเบี้ยเพื่อให้ชาวประมงนำปลามาขายให้บริษัท... | |
ทรัพย์สินที่สร้างขึ้นใหม่แทนทรัพย์สินเดิมถือเป็นรายจ่ายได้หรือไม่ ทรัพย์สินที่สร้างขึ้นใหม่แทนทรัพย์สินเดิมที่รื้อถอนออกไปรวมทั้งค่าใช้จ่ายในการรื้อถอน และค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างทรัพย์สินใหม่... | |
รายจ่ายตอบแทนคุณความดีพนักงาน สตาฟ รีไทเมนต์ เบเนฟิต ถือเป็นรายจ่ายได้หรือไม่ การจ่ายเงินค่าตอบแทน ที่เรียกว่า staff retirement benefit ให้แก่ทายาทของพนักงานผู้ตาย เพื่อตอบแทนคุณงามความดีที่ทำงานให้บริษัทเป็นเวลานาน เพื่ออุปการะเลี้ยงดูทายาทของพนักงานผู้ตาย ตามระเบียบของบริษัท | |
ค่าติดตั้งเครื่องจักร ถือเป็นรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนหรือไม่ ค่าติดตั้งเครื่องจักร เป็นรายจ่ายที่จ่ายแล้วได้รับประโยชน์จากการใช้จ่าย ที่บังเกิดเป็นทุนรอนหรือทรัพย์สินของบริษัท จึงถือว่า... | |
ค่าใช้จ่ายอะไรบ้างที่ไม่ใช่ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายต้องห้ามตามมาตรา 65ตรี(3)แห่งประมวลรัษฎากร ค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการขายได้แก่ ค่าเลี้ยงอาหารกลางวันพนักงาน เงินสวัสดิการห้องพยาบาลโรงพยาบาล ค่าสนับสนุนการแข่งขัน กอล์ฟการกุศล ค่าอุปการะ(สปอนเซอร์) การแข่งขันกอล์ฟ ค่าซ่อมรถ | |
ความหมาย รายจ่ายอันมีลักษณะการลงทุน " รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน มิใช่หมายถึงรายจ่ายที่บริษัทได้รับประโยชน์จากรายจ่ายนั้นเท่านั้น แต่ต้องเป็นรายจ่ายที่บังเกิดเป็นทุนรอนของบริษัทขึ้นมาด้วย... | |
กรณีการก่อสร้างอาคารแล้วยกกรรมสิทธิ์ให้เจ้าของที่ดิน กรณีการก่อสร้างอาคารและยกกรรมสิทธิ์ให้เจ้าของที่ดิน โดย ผู้ให้ มีสิทธิ์เช่าอาคารและที่ดินนั้น ถือเป็นรายการลงทุน | |
บริษัทจัดตั้งกองทุนสะสม และจ่ายเงิน เข้าบัญชีพนักงาน และพนักงานเบิกใช้ ถือเป็นรายจ่ายได้หรือไม่ ในกรณีที่บริษัทจัดตั้งกองทุนสะสม เพื่อเป็นทุนเลี้ยงชีพให้แก่พนักงาน แม้ไม่เข้าลักษณะเป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตาม กฎกระทรวง ออกตามมาตรา 65 ตรี(2) แห่งประมวลรัษฎากร... | |
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่บริษัทจัดตั้ง บริษัทจ่ายสมทบให้ บริษัทจะเบิกจ่ายมาใช้ส่วนตัวได้หรือไม่ กรณีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่บริษัทจัดตั้งโดยบริษัทนายจ้าง จ่ายสมทบให้ แล้วนำ ไปฝากธนาคารกำหนดไว้เป็นรายตัวลูกจ้าง แต่ละปีธนาคารจะแจ้งให้พนักงานทราบ... | |
ค่านายหน้าค้างจ่าย ที่ค้างมานานหลายรอบระยะเวลาบัญชีจะมีปัญหาหรือไม่ ในกรณีที่บริษัท มีข้อผูกพัน จะต้องจ่าย เงิน ค่านายหน้า ให้กับนายหน้า หรือตัวแทน เป็นการแน่นอน ในปีที่ตั้งค่าใช้จ่ายไว้ในบัญชี ถือเป็นรายจ่ายที่นำมาคำนวณกำไรสุทธิได้ไม่ต้องห้าม แต่เมื่อปรากฏว่าเป็นเวลานาน หลายรอบระยะเวลาบัญชีบริษัทยังไม่ได้จ่ายเงิน แล้ว... | |
ความสำคัญการตรวจสอบบัญชีสำหรับธุรกิจ SME การดำเนินงานสำหรับธุรกิจ SME ให้ประสบความสำเร็จนั้น ส่วนหนึ่งที่สำคัญ คือ การตรวจสอบบัญชี (ที่มีประสิทธิภาพ)... | |
เมื่อผู้ขายไม่ออกใบเสร็จรับเงินในการซื้อสินค้า จะใช้อะไรเป็นหลักฐานในการลงบัญชีรายจ่าย บริษัทเป็นผู้ค้าอัญมณีส่งออก แต่ผู้ขายอัญมณีไม่ยอมออกใบเสร็จรับเงินให้ บริษัทจึงไม่มีใบเสร็จรับเงินซื้อบันทึกบัญชี ถ้าบริษัททำใบรับขึ้นเพื่อเป็นหลักฐานในการลงบัญชีโดยมีรายละเอียดระบุ ชื่อ ที่อยู่ วัน เดือน ปี...
| |
ใบเสร็จรับเงินมีรายการไม่ครบถ้วนใช้เป็นค่าใช้จ่ายตามประมวลรัษฎากรได้หรือไม่ ใบเสร็จรับเงินมีรายการไม่ครบถ้วน แต่สามารถพิสูจน์ได้ว่าใครเป็นผู้รับเงิน ย่อมใช้เป็นหลักฐานการลงเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้ ไม่ต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี ( 18 ) แห่งประมวลรัษฎากร | |
บริษัทจ่ายเบี้ยประกันชีวิตให้พนักงาน ถือเป็นรายจ่ายคำนวณกำไรสุทธิได้หรือไม่ เบี้ยประกันชีวิตของพนักงานบริษัทฯ ได้จ่ายให้หรือจ่ายแทนจะนำมาถือเป็นรายจ่ายเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีในการคำนวณกำไรสุทธิได้นั้นบริษัทฯ ... | |
ใบเสร็จรับเงินมีรายการไม่ครบถ้วนใช้เป็นค่าใช้จ่ายตามประมวลรัษฎากรได้หรือไม่ ใบเสร็จรับเงินมีรายการไม่ครบถ้วน แต่สามารถพิสูจน์ได้ว่าใครเป็นผู้รับเงิน ย่อมใช้เป็นหลักฐานการลงเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้ ไม่ต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี ( 18 ) แห่งประมวลรัษฎากร | |
ใบส่งของที่ไม่มีลายมือชื่อผู้รับเงินจะนำมาหักเป็นรายจ่ายไม่ได้ ใบส่งของที่ไม่มีรายชื่อผู้รับการนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิของบริษัทไม่ได้ ต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี ( 18 ) แห่งประมวลรัษฎากร... | |
ดอกเบี้ยจ่ายให้ผู้ว่าจ้าง ถือเป็นรายจ่ายเพื่อประกอบกิจการได้ บริษัทฯ เป็นผู้ประกอบกิจการรับเหมาก่อสร้าง ดอกเบี้ยที่จ่ายบริษัทจ่ายให้ผู้ว่าจ้างเนื่องจากส่งมอบงานล่าช้าและเลยกำหนดเวลาตามที่ได้ตกลงกันไว้ ถือเป็นรายจ่าย... | |
ดอกเบี้ยจ่ายที่เกิดจากการซื้อสินค้าถือเป็นค่าใช้จ่ายตามประมวลรัษฎากรได้หรือไม่ บริษัทซื้อสินค้าโดยมีเงื่อนไขในการชำระราคาพร้อมทั้งดอกเบี้ยภายในแต่ละ 360 วัน ดอกเบี้ยดังกล่าวถือเป็นต้นทุนสินค้า บริษัทถือเป็นรายจ่ายได้เมื่อมีการขายสินค้าได้ | |
ค่ารับรองพิเศษถือเป็นค่าใช้จ่ายตามประมวลรัษฎากรได้หรือไม่ เงินค่ารับรองพิเศษที่บริษัทจ่ายไป เพื่อประโยชน์ในด้านการค้าของบริษัท แต่ไม่สามารถแจ้งรายละเอียดได้เพราะเป็นความลับ คงมีแต่ใบขอเบิกเงินและใบอนุมัติจ่าย โดยไม่มีเอกสารประกอบการลงบัญชี แต่ก็เป็นรายจ่ายที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นทุกปี กรณีดังกล่าวแม้จะเชื่อว่าเงินรับรอง... | |
การนำผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 รอบระยะเวลาบัญชี การนำผลขาดทุนสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชีก่อนมาหักจากยอดกำไรสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชีปีต่อมาย่อมทำได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไข มาตรา 65 ตรี (12) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งมีเงื่อนไขดังนี้... |
หน้า 3/7 [ก่อนหน้า] 1 2 3 4 5 6 7 [ถัดไป] | [Go to top] |